ในห้วงของความลึก ณ บริเวณจุดดำน้ำใกล้กับอ่าวช่องขาด บริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ จังหวัดพังงา ผมใช้เวลาส่วนใหญ่ของการดำน้ำไล่ไปตามบริเวณพื้นทรายซึ่งอยู่ห่างออกมาจากแนวลาดชัน (Reef Slope) ของแนวปะการัง
เย็นย่ำยามตะวันกำลังจะลาลับขอบฟ้า อาจหมายถึงช่วงสิ้นสุดเวลาทำงานของผู้คนส่วนใหญ่ รวมทั้งสัตว์นานาชนิดที่ออกหากินในช่วงกลางวัน แต่สำหรับสิ่งมีชีวิตบางสายพันธุ์ นี่คือสัญญาณเริ่มต้นชีวิตในค่ำคืนใหม่ที่เวียนมาถึงอีกครั้ง
สมัยที่ผมยังเป็นเด็ก เมื่อเกือบ 40 ปีก่อน ผมเคยไปยืนดูปลาในตู้ปลาในร้านข้างบ้าน ริมถนนสุขุมวิท แล้วก็ตื่นตาตื่นใจกับปลาตัวเล็ก ๆ สีเงิน ๆ ฝูงหนึ่ง คนขายเรียกมันว่าปลาบอร์เนียว ซึ่งในตอนนั้นผมก็ไม่รู้หรอกว่าบอร์เนียวคืออะไร
ปลาหมึกแคระ หรือปลาหมึกจิ๋ว เป็นปลาหมึกในกลุ่ม Idiosepius ที่พบอย่างน้อย 6 สายพันธุ์ทั่วโลก และที่น่าสนใจก็คือมีสายพันธุ์ชนิดที่มีรายงานพบใหม่จากประเทศไทยอยู่ชนิดหนึ่ง
ดงแห้วทรงกระเทียมขนาดใหญ่หลายสิบไร่แห่งหนึ่งที่อยู่ถัดจากชายน้ำของหนองกุดทิง จังหวัดบึงกาฬ เป็นบริเวณดงพืชน้ำที่ผมคิดจะนำพาบังไพรแบบลอยน้ำลัดเลาะเข้าไปซุ่มดักถ่ายภาพบรรดานกน้ำทั้งหลาย
ปลากะมงพร้าว (Giant Trevally: Caranx ignobilis) เป็นปลานักล่าขนาดใหญ่ชนิดหนึ่งที่มักจะอยู่รวมกันเป็นฝูงเล็ก ๆ ราว 10-20 ตัว เมื่อเติบโตเต็มที่จะมีความยาวของลำตัวมากกว่า 1.7 เมตร และมีน้ำหนักมากกว่า 80 กิโลกรัม
แม้สายลมหนาวแทบไม่เคยผ่านเข้ามาในภาคกลางบ้านเราเลย แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าประเทศของเราไม่มีความหนาวเย็นที่พอสัมผัสได้ในฤดูกาลของมัน
ปลาแมงป่อง (Scorpionfish) คือปลาในวงศ์ (Family) ที่เรียกกันว่า Scorpaenidae เป็นกลุ่มปลาชนิดหนึ่งที่อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเล ในแนวหินและแนวปะการังมีลักษณะพิเศษคือมันมักจะพรางตัวอยู่นิ่ง ๆ เพื่อดักรอจับเหยื่อจากพวกลูกปลาตัวเล็ก ๆ
น่าแปลก เราสร้างบ้านโดยวัสดุหลักที่นำมาจากธรรมชาติ แต่พอสร้างเสร็จในเมืองใหญ่ทุกเมือง ความเป็นธรรมชาติค่อย ๆ ลดลง เต็มไปด้วยตึกสูงและคอนกรีต อุณหภูมิความร้อนในเมืองเพิ่มขึ้นจากการสะท้อนแสง